“บอก ข้อดี/ข้อเสีย ในตัวคุณ” คำถามยอดฮิตในการสัมภาษณ์งาน ทำไมต้องบอกข้อดี ข้อเสีย ในการสัมภาษณ์ คำตอบก็คือ ผู้สัมภาษณ์ไม่ว่าจะ HR หัวหน้า ผู้บริหาร ก็อยากจะเช็คว่า นิสัยของคุณเหมาะที่จะทำงานที่นี่หรือไม่ จะเข้ากับเพื่อนร่วมงานได้หรือไม่ ถ้าฟังคำตอบแล้วไม่เหมาะ จะได้ตัดสิทธิ์ไม่รับเข้าทำงานกันเลยทีเดียว ฉะนั้นสิ่งที่ผู้สัมภาษณ์อยากได้ยินก็คือ เรื่องที่เป็นบวก เรื่องที่เหมาะกับองค์กร คนในองค์กร โดยเรื่องที่ควรตอบ ก็ควรเป็นเรื่องที่ไม่มีปัญหา […]
สื่อสารอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อลดความขัดแย้งในองค์กร ความขัดแย้งหรือ Conflict ถือเป็นเรื่องปกติสำหรับมนุษย์ครับ โดยเราจะเห็นความขัดแย้งแบบต่างๆทั้งในชีวิตประจำวันและการทำงาน หลายๆไอเดียที่คุณนำเสนอในการทำงานหรือการพูดคุยกับคนในทีม อาจนำไปสู่ปัญหาหรือความขัดแย้งในการสื่อสารได้อยู่เสมอ โดยหากปล่อยประละเลยไม่ได้รับการแก้ไขหรือปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพที่ดีมากขึ้น ก็อาจส่งผลต่อการทำงานระหว่างทีมและการติดต่อสื่อสารในเรื่องต่างๆทำให้เกิดความเข้าใจผิด ความรู้สึกไม่ดี อารมณ์ที่ขุ่นมัว ทัศนคติที่แย่ลง ที่อาจส่งผลกระทบเชิงลบกับการทำธุรกิจและการใช้ชีวิตประจำวันได้ แล้วเราจะแก้ปัญหาความขัดแย้งในการสื่อสารเหล่านี้ได้อย่างไร ในบทความนี้มีคำตอบให้คุณครับ 5 วิธีสำหรับการสื่อสารเพื่อลดความขัดแย้ง โดยปกติทั่วๆไปการลดความขัดแย้งในการสื่อสารจะมีอยู่ด้วยกัน 5 วิธี ที่สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ […]
การสื่อสารด้วยภาษากาย Skill ที่หัวหน้าทุกคนควรมี มื่อพูดถึงการเป็นหัวหน้าคน เราก็จะนึกถึงทักษะการเป็นผู้นำและการตัดสินใจที่เด็ดขาด แต่มีอีกสิ่งหนึ่งที่คนเป็นหัวหน้าขาดไปไม่ได้โดยเด็ดขาดก็คือทักษะการสื่อสาร ซึ่งนอกจากการสื่อสารเนื้อหาด้วยการเขียนหรือพูดอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว การใช้ Body Language หรือ ภาษากายที่ช่วยส่งสารถึงคู่สนทนาประกอบไปกับคำพูดก็สำคัญเช่นกัน เพราะทุก ๆ การกระทำของเราตั้งแต่การพูด ท่าทาง สายตา สามารถบ่งบอกอะไรบางอย่างได้มากกว่าแค่เนื้อความที่พูดออกมา Body Language แห่งความน่าเชื่อถือ เมื่อหัวหน้าต้องการวางตัวให้ดูมีความน่าเชื่อถือในเวลาที่พูดเรื่องสำคัญ อย่างเช่นในตอนที่กำลังเล่าเรื่องทิศทางการทำงานในห้องประชุม ภาษากายที่จะช่วยเราได้ก็คือการยืนตัวตรง ไหล่ผาย […]
การสร้างพฤติกรรมทำงานร่วมกับผู้อื่น (Team Cooperation in Workplace) ในสังคมแห่งความหลากหลายในปัจจุบันทำให้ทุกองค์กรมีการปรับตัวเพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะการณ์ ซึ่งองค์ประกอบสำคัญของการทำงานปรับตัวคือการเข้าใจซึ่งกันและกัน (Empathy) เป็นสิ่งสำคัญที่ควรต้องมีเพื่อให้เกิดการประสานงานกันเป็นหนึ่งเดียวในการขับเคลื่อนองค์กรสู่เป้าหมาย และองค์กรเองต้องอาศัยบุคลากรในองค์กรที่จะผลักดันให้มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกันโดยอาศัยการทำงานร่วมกันเป็นทีม ซึ่งมีแนวทางดังต่อไปนี้ สร้างเครือข่ายระหว่างเพื่อนร่วมงานในหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญลำดับแรกเนื่องจากจะนำไปสู่ความสัมพันธ์ของทีมงานและช่วยลดช่องว่างของการทำงานและชี้ให้ทราบถึงความสำคัญของการขอความช่วยเหลือจากทีมงาน จัดให้มีกิจกรรม Team building สม่ำเสมอ เพื่อช่วยในการคงไว้และเสริมเรื่องทักษะการทำงานเป็นทีม หลายกิจกรรมใน Team building ส่งเสริมให้เกิดการ สื่อสาร […]
เทคนิคการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ การสื่อสารเป็นอะไรที่ง่ายแต่ซับซ้อน ง่ายที่จะทำและง่ายที่จะผิดพลาด ซึ่งการสื่อสารจะมี 5 องค์ประกอบหลักคือ ผู้ส่งสาร: Sender สาร: Message ช่องทาง: Channel ผู้รับสาร: Response การให้ข้อมูลย้อนกลับ: Feedback เราได้ยิน เข้าใจ เชื่อและจำสิ่งที่พูดได้แค่ครึ่งเดียวเท่านั้นเอง […]
ศิลปะการสื่อสารด้วยวาจา (The Art of Verbal Communication) การสื่อสารมีหลายรูปแบบการใช้วาจาก็เป็นการสื่อสารรูปแบบหนึ่งในการที่เราจะพยายามทำความเข้าใจกับผู้ฟัง ซึ่งการใช้น้ำเสียงที่เหมาะสมอาจจะส่งผลต่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ความสัมพันธ์ในการเข้าสังคม การทำงาน เช่น face-to-face การสรุปความ การนำเสนอผลงาน การส่งเสียงผ่านเครื่องขยายเสียงในการสื่อสาร การคุยโทรศัพท์ การพูดผ่านวิทยุกระจายเสียง การคุยผ่านโปรแกรมสื่อสารออนไลน์ การสัมภาษณ์งาน การพูดต่อที่สาธารณะ และในสถานการณ์อื่น ๆ […]
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล กระบวนการสื่อสารข้อมูลสามารถแบ่งย่อยออกเป็นชุดองค์ประกอบสำคัญแปดส่วน ซึ่งแต่ละส่วนทำหน้าที่สำคัญในกระบวนการโดยรวม คือ แหล่งที่มา ข้อความ ช่องทาง เครื่องรับ คำติชม สิ่งแวดล้อม บริบท การรบกวน แหล่งที่มา แหล่งสร้างและส่งข้อความ ที่สร้างข้อความโดยเลือกข้อมูลที่ถูกต้องหรือคำที่ดีที่สุด เพื่อสื่อความหมายที่ต้องการ ส่งข้อมูลไปยังผู้รับ ข้อความ คือสิ่งที่สื่อความหมายแก่ผู้รับ (McLean, 2005) ข้อความเป็นการรวบรวมคำเพื่อสื่อความหมาย แต่ยังเกี่ยวกับวิธีการสื่อความหมายผ่านอวัจนภาษา […]
องค์ประกอบของการสื่อสาร 5 องค์ประกอบ กระบวนการสื่อสารมี 5 องค์ประกอบ คือ (1) ผู้ส่ง; (2) ข้อความ; (3) ช่องทาง (4) ผู้รับ และ (5) ผลลัพธ์ของผู้รับ (Kitson, Marshall, Bassett, & Zeitz, […]
องค์ประกอบของการสื่อสารมวลชน การสื่อสาร หมายถึงการกระทำของบุคคลตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไป การส่งและรับข้อความที่ถูกบิดเบือนด้วยเสียง ภายในบริบท ด้วยผลกระทบบางอย่างและมีโอกาสให้ข้อเสนอแนะ (Joseph A Devito) การสื่อสารมวลชน เป็นกระบวนการสื่อสารที่มีความละเอียดซับซ้อนกว่าการสื่อสารระหว่างบุคคล และในสื่อมวลชนแต่ละชนิดก็มีลักษณะของสื่อ เนื้อหาสาระ และรูปแบบการดำเนินงานที่แตกต่างกัน องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน 1. องค์กรสื่อสารมวลชน 2. นักสื่อสารมวลชน 3. ข่าวสาร 4. […]